22 September 2007

แสตมป์ชุดที่ระลึกโรตารีในประเทศไทย

แสตมป์ชุดที่ระลึกโรตารีในประเทศไทย

เลขที่ชุด : 667
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดที่ระลึกโรตารีในประเทศไทย
วันแรกจำหน่าย : 1 กรกฏาคม พ.ศ. 2544
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสที่วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๔๗๘ เป็นวันแรกที่พลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ทรงดำรงตำแหน่งผู้ว่าการภาคโรตารีสากล ภาค ๘๐ เป็นพระองค์แรก
ชนิดราคา : ๓ บาท
ขนาด : ๒๗ x ๔๕ มม
ภาพแสตมป์ : พระรูปพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ผู้ทรงก่อตั้งโรตารีในประเทศไทย พร้อมตราสัญลักษณ์โรตารีสากล
ผู้ออกแบบ : นายสุวิทย์ หลีดุลย์
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๐ บาท
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)

แสตมป์ชุดยักษ์

แสตมป์ชุดยักษ์

เลขที่ชุด : 666
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดยักษ์
วันแรกจำหน่าย : 13 มิถุนายน พ.ศ. 2544
ความมุ่งหมาย : เพื่อเผยแพร่โบราณวัตถุ ซึ่งเป็นศิลปะล้ำค่าให้แพร่หลาย
ชนิดราคา : ( ) ๒ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๕ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๑๐ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๑๒ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี
ขนาด : ๒๗ x ๔๕ มม.
ภาพแสตมป์ : ยักษ์วัดพระแก้ว (วัดพระศรีรัตนศาสดาราม) และยักษ์วัดแจ้ง (วัดอรุณราชวราราม) มีลักษณะงดงามและประณีตที่เกิดจากช่างโบราณนำเอากระเบื้องมาประดับบนตัวยักษ์ ได้รับอิทธิพลจากวรรคดีเรื่องรามเกียรติ์ ตามคติแต่เดิมการสร้างรูปยักษ์เพื่อเฝ้าพระอาราม และปกป้องรักษาอาณาบริเวณโดยรอบให้ปราศจากอันตราย ( ) ไมยราพ กายสีม่วงอ่อน เป็นพญายักษ์ครองเมืองบาดาล ( ) วิรุญจำบัง กายสีหมอก เป็นพญายักษ์ ครองเมืองจารึก ยักษ์ 2 ตนนี้ ยืนอยู่ริมประตูที่เข้ามาจากสนามหน้าศาลาสหทัยสมาคม วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ( ) ทศกัณฐ์ กายสีเขียว เป็นพญายักษ์ครองกรุงลงกา ( ) สหัสเดชะ กายสีขาว เป็นพญายักษ์ครองเมือง ปางตาล ยักษ์ 2 ตนนี้ ยืนอยู่ปากทางเข้าพระอุโบสถ วัดอรุณราชวราราม
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นางวีณา จันทนทัศน์)
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๔๐ บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๓๓ บาท
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นางวีณา จันทนทัศน์)
บัตรภาพตราไปรษณียากร : แบบธรรมดา ชุดละ ๘ บาท, แบบสมบูรณ์ ชุดละ ๔๕ บาท
บัตรตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๔๕ บาท

แสตมป์ชุดวันสำคัญทางพุทธศาสนา (วันวิสาขบูชา)

แสตมป์ชุดวันสำคัญทางพุทธศาสนา (วันวิสาขบูชา)

เลขที่ชุด : 665
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดวันสำคัญทางพุทธศาสนา (วันวิสาขบูชา)
วันแรกจำหน่าย : 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2544
ความมุ่งหมาย : เพื่อน้อมรำลึกถึงพระคุณของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เนื่องในวันวิสาขบูชา และเผยแพร่วันสำคัญทางพุทธศาสนา อีกทั้งเพื่อประชาสัมพันธ์เนื่องในโอกาสที่องค์การสหประชาชาติได้ประกาศให้วันวิสาขบูชาเป็นวันสำคัญสากลของสหประชาชาติ คือวันสำคัญของโลก
ชนิดราคา : ๓ บาท
ขนาด : ๒๗ x ๔๕ มม.
ภาพแสตมป์ : พระพุทธรูปประจำวันจันทร์ เป็นพระพุทธรูปปางห้ามสมุทร ประทับยืนยกพระหัตถ์ทั้งสองตั้งเสมอพระอุระ แบพระหัตถ์แสดงกิริยาห้าม
ผู้ออกแบบ : นายทวีพร ทองคำใบ
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๐ บาท
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)

แสตมป์ชุดที่ระลึกวันสงกรานต์ ๒๕๔๔

แสตมป์ชุดที่ระลึกวันสงกรานต์ ๒๕๔๔

เลขที่ชุด : 663
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดที่ระลึกวันสงกรานต์ ๒๕๔๔
วันแรกจำหน่าย : 13 เมษายน พ.ศ. 2544
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในวันสงกรานต์ (วันขึ้นปีใหม่ของไทยสมัยโบราณ)ประจำปี ๒๕๔๔
ชนิดราคา : ๒ บาท
ขนาด : ๒๑ x ๒๖ มม.
ภาพแสตมป์ : ภาพมนุษย์ผู้ชายมือขวาถือดาบ ยืนอยู่บนหลังงูเล็ก ภายในวงกลมรูปเครื่องหมายประจำปีนักษัตร สำหรับปี ๒๕๔๔ เป็นนักษัตรที่ ๖ กำหนดให้ตรงกับปีมะเส็ง งูเล็กเป็นสัญลักษณ์ประจำปี
ผู้ออกแบบ : นายณรงค์ แก้วสว่าง
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๕๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๐ บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๘ บาท
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายสมศักดิ์ ยาดี)

แสตมป์ชุดที่ระลึกงานกาชาด ๒๕๔๔

แสตมป์ชุดที่ระลึกงานกาชาด ๒๕๔๔

เลขที่ชุดแสตมป์ : 662
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดที่ระลึกงานกาชาด ๒๕๔๔
วันแรกจำหน่าย : 1 เมษายน พ.ศ. 2544
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกงานกาชาดปี ๒๕๔๔
ชนิดราคา : ๔ บาท
ขนาด : ๔๕ x ๒๗ มม.
ภาพแสตมป์ : ภาพเจ้าหน้าที่สถานสงเคราะห์เด็กของสภากาชาดไทยกำลังเลี้ยงดูเด็กกำพร้า ซึ่งเป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของมูลนิธิสงเคราะห์เด็กของสภากาชาดไทยประกอบภาพสัญลักษณ์กาชาดที่มุมบนด้านซ้าย
ผู้ออกแบบ : นายสุวิทย์ หลีดุลย์
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๐ บาท
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (น.ส.ปาริชาติ เจริญเชื้อ)

แสตมป์ชุดอัญมณี (ชุด ๒)

แสตมป์ชุดอัญมณี (ชุด ๒)

เลขที่ชุดแสตมป์ : 661
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดอัญมณี (ชุด ๒)
วันแรกจำหน่าย : 30 มีนาคม พ.ศ. 2544
ความมุ่งหมาย : เพื่อเผยแพร่อัญมณีซึ่งเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของไทยให้แพร่หลายไปทั่วโลก
ชนิดราคา : ( ) ๓ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๔ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๖ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๑๒ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี
ขนาด : ๔๕ x ๒๗ มม.
ภาพแสตมป์ : ภาพที่ชนะการประกวดภาพเขียนแบบตราไปรษณียากรในงานสัปดาห์สากลแห่งการเขียนจดหมาย ประจำปี ๒๕๔๒ ในหัวข้อ “อัญมณีไทย” ( ) เพชร ( ) เขียวส่อง ( ) ไข่มุก ( ) ไพลิน
ผู้ออกแบบ : ( ) นายกฤษณา โมคศิริ( ), ( ), ( ) นายจรรยา บุญญาศักดิ์
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๓๕ บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๓๕ บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (น.ส.ปาริชาติ เจริญเชื้อ)
บัตรภาพตราไปรษณียากร : แบบธรรมดา ชุดละ ๘ บาท, แบบสมบูรณ์ ชุดละ ๔๐ บาท
บัตรตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๔๐ บาท

แสตมป์ชุดชีวิตใต้ทะเล

แสตมป์ชุดชีวิตใต้ทะเล

เลขที่ชุดแสตมป์ : 660
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดชีวิตใต้ทะเล
วันแรกจำหน่าย : 15 มีนาคม พ.ศ. 2544
ความมุ่งหมาย : เพื่อส่งเสริมการสะสมตราไปรษณียากรและเผยแพร่ให้ประชาชนตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของสิ่งมีชีวิตใต้ทะเล รวมทั้งส่งเสริมในด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมชายฝั่ง
ชนิดราคา : ( ) ๓ บาท ๖ แบบ แบบละ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๖ บาท ๑ แบบ (แนวนอน) แบบละ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๖ บาท ๒ แบบ (แนวตั้ง) แบบละ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี
ขนาด : ( ) ๒๙ x ๒๔ มม.( ) ๒๙ x ๔๘ มม.( ) ๕๘ x ๒๔ มม.
ภาพแสตมป์ : ภาพธรรมชาติใต้ทะเลไทยที่สวยงาม อันประกอบไปด้วยปลาทะเลชนิดต่าง ๆ เต่าทะเล กัลปังหา และปะการังหลากชนิด
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : โฟโตกราเวียร์
จำนวนดวงในแผ่น : ๙ ดวง (จำหน่ายทั้งแผ่นไม่แยกจำหน่ายเป็นรายดวง)
ซองวันแรกจำหน่าย : ๕๐ บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)

แสตมป์ชุดที่ระลึก ๑๐๐ ปี กรมที่ดิน

แสตมป์ชุดที่ระลึก ๑๐๐ ปี กรมที่ดิน

เลขที่ชุดแสตมป์ : 659
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดที่ระลึก ๑๐๐ ปี กรมที่ดิน
วันแรกจำหน่าย : 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ปี วันคล้ายวันสถาปนากรมที่ดิน
ชนิดราคา : ๕ บาท
ขนาด : ๓๐ x ๔๘ มม.
ภาพแสตมป์ : พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระพักตร์ข้าง ในฉลองพระองค์ชุดสากล ประกอบภาพโฉนดที่ดินฉบับแรกของประเทศ พร้อมตราสัญลักษณ์กรมที่ดิน
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๐ บาท
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)

แสตมป์ชุดนกแก้ว

แสตมป์ชุดนกแก้ว

เลขที่ชุดแสตมป์ : 658
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดนกแก้ว
วันแรกจำหน่าย : 11 มกราคม พ.ศ. 2544
ความมุ่งหมาย : เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่นกแก้วพันธุ์ต่าง ๆ ที่พบในประเทศไทยให้เป็นที่รู้จักกว้างขวาง
ชนิดราคา : ( ) ๒ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๕ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๘ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๑๐ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี
ขนาด : ๒๗ x ๔๕ มม.
ภาพแสตมป์ : ( ) นกแขกเต้า (ชื่อวิทยาศาสตร์ Psittacula alexandri) ( ) นกแก้วโม่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์ Psittacula eupatria ( ) นกหกใหญ่ (ชื่อวิทยาศาสตร์ Psittinus cyanurus) ( ) นกแก้วหัวแพร (ชื่อวิทยาศาสตร์ Psittacula roseata)
ผู้ออกแบบ : นายทวีพร ทองคำใบ
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๓๕ บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๓๕ บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)
บัตรภาพตราไปรษณียากร : แบบธรรมดา ชุดละ ๘ บาท, แบบสมบูรณ์ ชุดละ ๔๐ บาท
บัตรตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๔๐ บาท

20 September 2007

แสตมป์ชุดที่ระลึกงานชุมนุมลูกเสือโลก ครั้งที่ ๒๐

แสตมป์ชุดที่ระลึกงานชุมนุมลูกเสือโลก ครั้งที่ ๒๐

เลขที่ชุดแสตมป์ : 701
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดที่ระลึกงานชุมนุมลูกเสือโลก ครั้งที่ ๒๐
วันแรกจำหน่าย : 28 ธันวาคม พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสที่ประเทศไทยได้รับเกียรติจากที่ประชุมสมัชชาลูกเสือโลก ครั้งที่ ๓๔ ปี ๒๕๓๙ ให้เป็นเจ้าภาพจัดงานชุมนุมลูกเสือโลก ครั้งที่ ๒๐ ณ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ระหว่างวันที่ ๒๘ ธันวาคม ๒๕๔๕ - ๗ มกราคม ๒๕๔๖
ชนิดราคา : ( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๑๒ บาท ๕๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี
ขนาด : ๔๘ x ๓๐ มม.
ภาพแสตมป์ : ( ) ลูกเสือจาก ๖ ภูมิภาค ได้แก่ ยุโรป เอเชียแปซิฟิก อาหรับ ยูเรเซีย แอฟริกา อินเตอร์อเมริกา พร้อมตราสัญลักษณ์งานชุมนุมลูกเสือโลก ครั้งที่ ๒๐ ( ) หาดยาว อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี สถานที่จัดงานชุมนุมลูกเสือโลก ครั้งที่ ๒๐ พร้อมตราสัญลักษณ์งานชุมนุมลูกเสือโลก ครั้งที่ ๒๐
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๒๓ บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)

แสตมป์ชุดปีใหม่ ๒๕๔๖

แสตมป์ชุดปีใหม่ ๒๕๔๖

เลขที่ชุดแสตมป์ : 700
ชื่อชุด : ชุดปีใหม่ ๒๕๔๖
วันแรกจำหน่าย : 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อใช้ส่งบัตรอวยพรปีใหม่ทางไปรษณีย์และเผยแพร่ดอกไม้ของไทย
ชนิดราคา : ( ) ๓ บาท ๒,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๓ บาท ๒,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๓ บาท ๒,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๓ บาท ๒,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี
ขนาด : ๒๖ x ๒๑ มม.
ภาพแสตมป์ : ( ) ดอกแก้วเจ้าจอม (Guaiacum officinale L.) ( ) ดอกกรรณิการ์ (Nyctanthes arbortristis L.) ( ) ดอกอังกาบ (Barleria cristata L.) ( ) ดอกรำเพย (Thevetia peruviana (Pers.) K. Schum.)
ผู้ออกแบบ : นายทวีพร ทองคำใบ
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๕๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๒๒ บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๑๖ บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายสุเมธ หงส์สุขพันธุ์)
บัตรตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๒๘ บาท

แสตมป์ชุดที่ระลึกงานแสดงตราไปรษณียากรโลก กรุงเทพฯ ๒๕๔๖ (ชุด ๑)

แสตมป์ชุดที่ระลึกงานแสดงตราไปรษณียากรโลก กรุงเทพฯ ๒๕๔๖ (ชุด ๑)

เลขที่ชุดแสตมป์ : 699
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดที่ระลึกงานแสดงตราไปรษณียากรโลก กรุงเทพฯ ๒๕๔๖ (ชุด ๑)
วันแรกจำหน่าย : 5 ตุลาคม พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อประชาสัมพันธ์งานแสดงตราไปรษณียากรโลก กรุงเทพฯ ๒๕๔๖ ซึ่งจะจัดให้มีขึ้นระหว่างวันที่ ๔ - ๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๖ ณ ศูนย์แสดงสินค้านานาชาติอิมแพ็ค เมืองทองธานี ในโอกาสครบ ๑๒๐ ปี ของการไปรษณีย์ไทยและตราไปรษณียากรดวงแรกของไทย
ชนิดราคา : ( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๔ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๑๕ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี
ขนาด : ๔๕ x ๒๗ มม.
ภาพแสตมป์ : ชุดอาหารไทย ๔ ภาค จัดโดยอาจารย์วันดี ณ สงขลา ( ) ภาคกลาง ได้แก่ ข้าวแช่ ( ) ภาคใต้ ได้แก่ สะตอผัดกุ้ง แกงเหลือง ( ) ภาคอีสาน ได้แก่ ส้มตำ ไก่ย่าง ข้าวเหนียว ( ) ภาคเหนือ ได้แก่ แคบหมู น้ำพริกอ่อง ไส้อั่ว
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายธเนศ พลไชยวงศ์)
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๓๖ บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๓๐ บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายธเนศ พลไชยวงศ์)
บัตรภาพตราไปรษณียากร : แบบธรรมดา ชุดละ ๘ บาท, แบบสมบูรณ์ ชุดละ ๔๒ บาท
บัตรตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๔๑ บาท

แสตมป์ชุดที่ระลึกสัปดาห์สากลแห่งการเขียนจดหมาย ๒๕๔๕

แสตมป์ชุดที่ระลึกสัปดาห์สากลแห่งการเขียนจดหมาย ๒๕๔๕

เลขที่ชุดแสตมป์ : 698
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดที่ระลึกสัปดาห์สากลแห่งการเขียนจดหมาย ๒๕๔๕
วันแรกจำหน่าย : 5 ตุลาคม พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกงานสัปดาห์สากลแห่งการเขียนจดหมาย ปี ๒๕๔๕ ระหว่างวันที่ ๕–๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๕
ชนิดราคา : ( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๔ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๑๕ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี
ขนาด : ๔๕ x ๒๗ มม.
ภาพแสตมป์ : ภาพที่ชนะการประกวดภาพเขียนแบบตราไปรษณียากรในงานสัปดาห์สากลแห่งการเขียนจดหมาย ปี ๒๕๔๓ ในหัวข้อ “เครื่องครัวไทย” ( ) กระต่ายขูดมะพร้าวทำด้วยไม้เป็นรูปสัตว์ ( ) กระชอนที่เป็นเครื่องจักสาน ( ) กระจ่า หรือจวักสำหรับตักข้าวและตักแกง ทำจากกะลามะพร้าว ( ) เตาวง พร้อมหม้อข้าวหรือหม้อแกงดินเผา
ผู้ออกแบบ : ( ),( ) นายมนูญ ศรีวงศ์กรกฎ( ) นายรอง สายชุ่มดี( ) นายจรรยา บุญญาศักดิ์
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๓๖ บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๓๑ บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)
บัตรภาพตราไปรษณียากร : แบบธรรมดา ชุดละ ๘ บาท, แบบสมบูรณ์ ชุดละ ๔๒ บาท
บัตรตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๔๑ บาท

แสตมป์ชุดความร่วมมือไทย-สวีเดน

แสตมป์ชุดความร่วมมือไทย-สวีเดน

เลขที่ชุดแสตมป์ : 697
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดความร่วมมือไทย-สวีเดน
วันแรกจำหน่าย : 5 ตุลาคม พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อส่งเสริมการสะสมตราไปรษณียากรในระดับระหว่างประเทศให้แพร่หลาย
ชนิดราคา : ( ) ๔ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๔ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี
ขนาด : ๓๑.๒๕ x ๓๙.๙๐ มม.
ภาพแสตมป์ : ( ) พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ( ) พระราชวังกรุงสตอกโฮล์ม
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นางวีณา จันทนทัศน์)
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : อินทากลิโอ และลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๕ บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นางวีณา จันทนทัศน์)

แสตมป์ชุดที่ระลึกครบรอบ ๑๐๐ ปี ธนบัตรไทย

แสตมป์ชุดที่ระลึกครบรอบ ๑๐๐ ปี ธนบัตรไทย

เลขที่ชุดแสตมป์ : 696
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดที่ระลึกครบรอบ ๑๐๐ ปี ธนบัตรไทย
วันแรกจำหน่าย : 7 กันยายน พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงนำธนบัตรเข้ามาใช้ในระบบการเงินของประเทศไทย
ชนิดราคา : ๕ บาท
ขนาด : ๔๘ x ๓๐ มม.
ภาพแสตมป์ : พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕)และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ ๙) พื้นภาพโดยรอบเลียนแบบลวดลายธนบัตรไทยสมัยโบราณ
ผู้ออกแบบ : ธนาคารแห่งประเทศไทย (นายจักรกริช ศุภรัชตการ)
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : อินทากลิโอ
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๒ บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : 11 Baht
ผู้ออกแบบแสตมป์ : ธนาคารแห่งประเทศไทย (นายจักรกริช ศุภรัชตการ)

แสตมป์ชุดศิลปวัตถุในพระที่นั่งวิมานเมฆ

แสตมป์ชุดศิลปวัตถุในพระที่นั่งวิมานเมฆ

เลขที่ชุดแสตมป์ : 695
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดศิลปวัตถุในพระที่นั่งวิมานเมฆ
วันแรกจำหน่าย : 7 กันยายน พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมายแสตมป์ : เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์สถานที่ท่องเที่ยวของไทย คือ พระที่นั่งวิมานเมฆซึ่งเป็นพระที่นั่งถาวรองค์แรกที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นด้วยไม้สักทอง ภายในสวนดุสิต เป็นพระที่นั่งที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีความประณีตงดงามและทรงคุณค่าทางสถาปัตยกรรมและเป็นที่รวบรวมศิลปวัตถุที่มีค่า
ชนิดราคา : ( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๔ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๑๒ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี
ขนาด : ๔๕ x ๒๗ มม.
ภาพแสตมป์ : ชุดเครื่องทอง ( ) ภาพลูกหีบพระศรีทองคำฝาประดับอัญมณี ( ) ภาพพานรองทองคำลงยา ( ) ภาพจอกหมากทองคำลงยา ( ) ภาพหีบพระศรีทองคำลงยาฝาเงินโมราทราย ทองประดับโมเสก
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นางวีณา จันทนทัศน์)
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๓๒ บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๒๖ บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นางวีณา จันทนทัศน์)
บัตรภาพตราไปรษณียากร : แบบธรรมดา ชุดละ ๘ บาท, แบบสมบูรณ์ ชุดละ ๓๙ บาท
บัตรตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๓๘ บาท

แสตมป์ชุดที่ระลึก ๕๐ ปี การสถาปนาหอจดหมายเหตุแห่งชาติ

แสตมป์ชุดที่ระลึก ๕๐ ปี การสถาปนาหอจดหมายเหตุแห่งชาติ

เลขที่ชุดแสตมป์ : 693
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดที่ระลึก ๕๐ ปี การสถาปนาหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
วันแรกจำหน่าย : 18 สิงหาคม พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในวาระครบรอบ ๕๐ ปี แห่งการสถาปนาหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
ชนิดราคา : ๓ บาท
ขนาด : ๔๕ x ๒๗ มม.
ภาพแสตมป์ : สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ผู้ก่อตั้งหอจดหมายเหตุแห่งชาติ และบันทึกข้อความที่เกี่ยวกับการก่อตั้งหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เป็นพื้นหลังพร้อมตราสัญลักษณ์ ๕๐ ปี การสถาปนาหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
ผู้ออกแบบแสตมป์ : Mr.Sindre Age Osteras
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๐ บาท
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายธเนศ พลไชยวงศ์)

แสตมป์ชุดความร่วมมือไทย-ออสเตรเลีย

แสตมป์ชุดความร่วมมือไทย-ออสเตรเลีย

เลขที่ชุดแสตมป์ : 692
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดความร่วมมือไทย-ออสเตรเลีย
วันแรกจำหน่าย : 6 กรกฏาคม พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อส่งเสริมการสะสมตราไปรษณียากรในระดับระหว่างประเทศให้แพร่หลาย
ชนิดราคา : ( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี
ขนาด : ๔๕ x ๒๗ มม.
ภาพแสตมป์ : ( ) บัวหลวง ชื่อวิทยาศาสตร์ Nelumbo nucifera Gaertn. ( ) บัวออสเตรเลีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Nymphaea immutabilis
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายธเนศ พลไชยวงศ์)
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๓ บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๙ บาท
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายธเนศ พลไชยวงศ์)

แสตมป์ชุดที่ระลึกวันสื่อสารแห่งชาติ ๒๕๔๕

แสตมป์ชุดที่ระลึกวันสื่อสารแห่งชาติ ๒๕๔๕

เลขที่ชุดแสตมป์ : 691
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดที่ระลึกวันสื่อสารแห่งชาติ ๒๕๔๕
วันแรกจำหน่าย : 4 สิงหาคม พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกวันสื่อสารแห่งชาติ ปี ๒๕๔๕
ชนิดราคา : ๔ บาท
ขนาด : ๔๘ x ๓๐ มม.
ภาพแสตมป์ : ภาพในแนวกราฟฟิกแสดงถึงการสื่อสารในยุคของการแข่งขันเสรี โดยมุ่งเน้นถึงศักยภาพของมนุษย์ในการพัฒนาตนเองให้ก้าวทันเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในด้านการให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง รวดเร็วและแม่นยำ พร้อมตราสัญลักษณ์วันสื่อสารแห่งชาติ
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๑ บาท
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)

แสตมป์ชุดที่ระลึก ๕๐ พรรษา สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร

แสตมป์ชุดที่ระลึก ๕๐ พรรษา สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร

เลขที่ชุดแสตมป์ : 690
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดที่ระลึก ๕๐ พรรษา สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
วันแรกจำหน่าย : 28 กรกฏาคม พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมายแสตมป์ : เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมาร ทรงมีพระชนมายุ ๕๐ พรรษา และเพื่อเผยแพร่พระเกียรติคุณและน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อประชาชนและผู้ป่วยผู้ด้อยโอกาส
ชนิดราคา : ๓ บาท
ขนาด : ๒๗ x ๔๕ มม.
ภาพ : สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร
ผู้ออกแบบ : นายจรรยา บุญญาศักดิ์
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๐ บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)

12 September 2007

แสตมป์ชุดวัด

แสตมป์ชุดวัด

เลขที่ชุดแสตมป์ : 689
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดวัด
วันแรกจำหน่าย : 17 มิถุนายน พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อเผยแพร่สถาปัตยกรรมอันงดงามและมีคุณค่ายิ่งของไทยให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายไปทั่วโลก
ชนิดราคา : ( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๔ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( )๑๒ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี
ขนาด : ๔๕ x ๒๗ มม.
ภาพแสตมป์ : วัดสำคัญในกรุงเทพฯ ( ) วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ( ) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลา ( ) วัดอรุณราชวราราม ( ) วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม
ผู้ออกแบบ : นายทวีพร ทองคำใบ
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๓๒ บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๒๗ บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายสุรินทร์ พิมพะสาลี)
บัตรภาพตราไปรษณียากร : แบบธรรมดา ชุดละ ๘ บาท, แบบสมบูรณ์ ชุดละ ๓๙ บาท
บัตรตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๓๘ บาท

แสตมป์ชุดปลากัด

แสตมป์ชุดปลากัด

เลขที่ชุดแสตมป์ : 688
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดปลากัด
วันแรกจำหน่าย : 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ปลากัดให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายไปทั่วโลก
ชนิดราคา : ( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๔ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๑๕ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี
ขนาด : ๔๕ x ๒๗ มม.
ภาพแสตมป์ : ปลากัด เป็นปลาพื้นเมืองที่นิยมเพาะเลี้ยงมาเป็นเวลานานเพื่อไว้ดูเล่น และเพื่อกีฬากัดปลา พบอยู่ทั่วไปทุกภาคของประเทศ ( ) ปลากัดใต้ ( ) ปลากัดไทยหางสั้น ( ) ปลากัดไทยหางมงกุฎ ( ) ปลากัดไทยหางยาวแฟนซี
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)
บริษัทผู้พิมพ์แสตมป์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๓๖ บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๓๐ บาท
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)
บัตรภาพตราไปรษณียากร : แบบธรรมดา ชุดละ ๘ บาท, แบบสมบูรณ์ ชุดละ ๔๒ บาท
บัตรตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๔๑ บาท

แสตมป์ชุดที่ระลึกวันสงกรานต์ ๒๕๔๕

แสตมป์ชุดที่ระลึกวันสงกรานต์ ๒๕๔๕

เลขที่ชุดแสตมป์ : 687
ชื่อชุด : ชุดที่ระลึกวันสงกรานต์ ๒๕๔๕
วันแรกจำหน่าย : 13 เมษายน พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในวันสงกรานต์ (วันขึ้นปีใหม่ของไทยสมัยโบราณ)ประจำปี ๒๕๔๕
ชนิดราคา : ๒ บาท
ขนาดแสตมป์ : ๒๑ x ๒๖ มม.
ภาพแสตมป์ : ภาพเทวดาผู้หญิง นั่งอยู่บนหลังม้า ภายในวงกลมรูปเครื่องหมายประจำปีนักษัตร สำหรับปี ๒๕๔๕ เป็นนักษัตรที่ ๗ กำหนดให้ตรงกับปีมะเมีย ม้าเป็นสัญลักษณ์ประจำปี
ผู้ออกแบบ : นายณรงค์ แก้วสว่าง
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสีแสตมป์ : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๕๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๙ บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๘ บาท (แบบปรุรูและแบบไม่ปรุรู)๑๔ บาท (แบบปรุรู) รวม ๖ ปี นักษัตร๑๔ บาท (แบบไม่ปรุรู) นักษัตรฉลู-มะเมีย
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายสมศักดิ์ ยาดี)

แสตมป์ชุดที่ระลึกวันอนุรักษ์มรดกไทย ๒๕๔๕

แสตมป์ชุดที่ระลึกวันอนุรักษ์มรดกไทย ๒๕๔๕

เลขที่ชุดแสตมป์ : 686
ชื่อชุด : ชุดที่ระลึกวันอนุรักษ์มรดกไทย ๒๕๔๕
วันแรกจำหน่ายแสตมป์ : 2 เมษายน พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย ประจำปี ๒๕๔๕ และเพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญและเห็นคุณค่าของศิลปะอันล้ำค่าของชาติ
ชนิดราคา : ( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๓ บาท ๑,๐๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๔ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี( ) ๑๕ บาท ๗๐๐,๐๐๐ ดวง หลายสี
ขนาด : ๒๗ x ๔๕ มม.
ภาพ : หุ่นกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (หุ่นวังหน้า) ที่ได้รับความอนุเคราะห์ภาพสไลด์จาก นายจักรพันธุ์ โปษยกฤต ( ) หุ่นพระ ( ) หุ่นนาง ( ) หุ่นยักษ์ ( ) หุ่นลิง
บริษัทผู้พิมพ์แสตมป์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๓๖ บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๓๐ บาท
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นางวีณา จันทนทัศน์)
บัตรภาพตราไปรษณียากร : แบบธรรมดา ชุดละ ๘ บาท, แบบสมบูรณ์ ชุดละ ๔๒ บาท
บัตรตราไปรษณียากรที่ระลึก : ๔๑ บาท

แสตมป์ชุดที่ระลึก ๙๐ ปี กระทรวงคมนาคม

แสตมป์ชุดที่ระลึก ๙๐ ปี กระทรวงคมนาคม

เลขที่ชุดแสตมป์ : 685
ชื่อชุด : ชุดที่ระลึก ๙๐ ปี กระทรวงคมนาคม
วันแรกจำหน่าย : 1 เมษายน พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสครบ ๙๐ ปี วันสถาปนากระทรวงคมนาคม
ชนิดราคา : ๓ บาท
ขนาด : ๔๕ x ๒๗ มม.
ภาพแสตมป์ : ภาพอาคารที่ทำการของกระทรวงคมนาคม ในปัจจุบัน พร้อมตราประจำกระทรวง คือ ตราพระรามทรงรถ
ผู้ออกแบบ : นายเจนวิทย์ ทองแก้ว
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๐ บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นางวีณา จันทนทัศน์)

แสตมป์ชุดวันสำคัญทางพุทธศาสนา (วันมาฆบูชา)

แสตมป์ชุดวันสำคัญทางพุทธศาสนา (วันมาฆบูชา)

เลขที่ชุดแสตมป์ : 683
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดวันสำคัญทางพุทธศาสนา (วันมาฆบูชา)
วันแรกจำหน่าย : 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อน้อมรำลึกถึงพระคุณของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเนื่องในวันมาฆบูชาและเผยแพร่วันสำคัญทางพุทธศาสนา
ชนิดราคา : ๓ บาท
ขนาด : ๔๕ x ๒๗ มม.
ภาพแสตมป์ : พระพุทธรูปประจำวันอังคาร เป็นพระพุทธรูปปางไสยา (ไสยาสน์) ทรงบรรทมตะแคงข้างขวา หลับพระเนตร พระเศียรหนุนพระเขนย ฝ่าพระหัตถ์ขวารองรับพระเศียร พระกรซ้ายทาบไว้บนพระปรัศว์ซ้าย พระบาทซ้ายซ้อนไว้บนพระบาทขวา เหยียดปลายพระบาทเสมอกันทั้ง ๒ ข้าง
ผู้ออกแบบ : นายทวีพร ทองคำใบ
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๐ บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายธเนศ พลไชยวงศ์)

แสตมป์ชุดที่ระลึกการประชุมวิชาการโรคระบบทางเดินอาหารโลก ๒๕๔๕

แสตมป์ชุดที่ระลึกการประชุมวิชาการโรคระบบทางเดินอาหารโลก ๒๕๔๕

เลขที่ชุดแสตมป์ : 682
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดที่ระลึกการประชุมวิชาการโรคระบบทางเดินอาหารโลก ๒๕๔๕
วันแรกจำหน่าย : 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสที่สมาคมแพทย์ระบบทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย ได้รับเกียรติเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมทางวิชาการโรคระบบทางเดินอาหารโลก ครั้งที่ ๑๒ ที่กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ – ๑ มีนาคม ๒๕๔๕ นับเป็นครั้งแรกที่จัดให้มีการประชุมในทวีปเอเชีย
ชนิดราคา : ๓ บาท
ขนาด : ๒๗ x ๔๕ มม.
ภาพแสตมป์ : คณะแพทย์กำลังทำการตรวจรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคระบบทางเดินอาหาร พื้นภาพแสดงระบบทางเดินอาหารตั้งแต่ช่องปากลงมาจนถึงช่องท้อง พร้อมภาพตราสัญลักษณ์การประชุมวิชาการโรคระบบทางเดินอาหารโลก ครั้งที่ ๑๒
ผู้ออกแบบ : นายเจนวิทย์ ทองแก้ว
บริษัทผู้พิมพ์แสตมป์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๐ บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายสุรินทร์ พิมพะสาลี)

แสตมป์ชุดที่ระลึกงานกาชาด ๒๕๔๕

แสตมป์ชุดที่ระลึกงานกาชาด ๒๕๔๕

เลขที่ชุดแสตมป์ : 681
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดที่ระลึกงานกาชาด ๒๕๔๕
วันแรกจำหน่าย : 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกงานกาชาด ปี ๒๕๔๕
ชนิดราคา : ๔ บาท
ขนาด : ๔๕ x ๒๗ มม.
ภาพแสตมป์ : ภาพ “เรือนในทะเล” และภาพ “ตึกพระพันวัสสา”
ผู้ออกแบบแสตมป์ : นายเจนวิทย์ ทองแก้ว
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๑ บาท
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)

แสตมป์ชุดดอกกุหลาบ

แสตมป์ชุดดอกกุหลาบ

เลขที่ชุดแสตมป์ : 680
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดดอกกุหลาบ
วันแรกจำหน่าย : 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อส่งเสริมการสะสมตราไปรษณียากร และเป็นการประชาสัมพันธ์ดอกกุหลาบ ซึ่งเป็นไม้ดอกที่สวยงาม และเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน
ชนิดราคา : ๔ บาท
ขนาด : ๓๑ x ๓๑ มม.
ภาพแสตมป์ : ภาพกุหลาบแดง พันธุ์แอนโทเนียริดจ์ ลักษณะดอกแย้มบาน กลีบดอกหนา นุ่มคล้ายกำมะหยี่ จะเรียงซ้อนกันเป็นระดับสวยงาม ปลายกลีบโค้งงอน และมีกลิ่นหอม ปัจจุบันมีผู้นิยมนำดอกกุหลาบมาเป็นสัญลักษณ์แห่งความรัก
ผู้ออกแบบแสตมป์ : นายรอง สายชุ่มดี
บริษัทผู้พิมพ์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๑ บาท
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายธเนศ พลไชยวงศ์)

แสตมป์ชุดที่ระลึกพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

แสตมป์ชุดที่ระลึกพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

เลขที่ชุดแสตมป์ : 679
ชื่อชุดแสตมป์ : ชุดที่ระลึกพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
วันแรกจำหน่าย : 19 มกราคม พ.ศ. 2545
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารผู้โดยสารและอาคารเทียบเครื่องบินท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ชนิดราคา : ๓ บาท
ขนาด : ๔๕ x ๒๗ มม.
ภาพแสตมป์ : อาคารผู้โดยสารท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ผู้ออกแบบแสตมป์ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายธเนศ พลไชยวงศ์)
บริษัทผู้พิมพ์แสตมป์ :
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่
จำนวนดวงในแผ่น : ๒๐ ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ๑๒ บาท
ผู้ออกแบบ : การสื่อสารแห่งประเทศไทย (นายอุดร นิยมธรรม)

05 September 2007

แสตมป์ตราไปรษณียากรที่ระลึก 100 ปี กรมจเรทหารบก

แสตมป์ตราไปรษณียากรที่ระลึก 100 ปี กรมจเรทหารบก

เลขที่ชุดแสตมป์ : 711
ชื่อชุดแสตมป์ : ตราไปรษณียากรที่ระลึก 100 ปี กรมจเรทหารบก
วันแรกจำหน่าย : 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2546
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสครบรอบ 100 ปี วันสถาปนากรมจเรทหารบก
ชนิดราคา : 3.00 บาท
ขนาด : 27 x 45 มม. (แนวตั้ง)
จำนวนภาพ : 1

แสตมป์ พระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ฉลองพระองค์เครื่องแบบเต็มยศนายพลทหารบก พร้อมภาพอาคารที่ทำการกระทรวงกลาโหม ซึ่งกรมจเรทหารบกได้เคยใช้เป็น ที่ทำการมาในอดีต กิจการจเรทหารบกในประเทศไทย เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2446 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง จเรทัพบกขึ้น และทรงกระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ พลเอก สมเด็จพระบรมโอรสาธิ ราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฏราชกุมาร ทรงดำรงตำแหน่งเป็น “จเรทัพบก” เป็นพระองค์แรก มีหน้าที่ตรวจราชการทหารบกทั่วไป ต่างพระเนตรพระกรรณ ดังนั้นจึงได้ยึดถือวันที่ 6 พฤษภาคมของทุกปี เป็นวันคล้ายวันสถาปนา “กรมจเร ทหารบก”

ผู้ออกแบบแสตมป์ : นายสุวิทย์ หลีดุลย์
บริษัทผู้พิมพ์ : จันวาณิชย์ ซีเคียวริตี้ พริ้นท์ติ้ง จำกัด ประเทศไทย
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่ – หลายสี
จำนวนดวงในแผ่น : 20 ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ซองละ 10.00 บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : นางสาวมยุรี นาคนิศร (การสื่อสารแห่งประเทศไทย)

แสตมป์ตราไปรษณียากรที่ระลึก 80 พรรษา สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส

แสตมป์ตราไปรษณียากรที่ระลึก 80 พรรษา สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส

เลขที่ชุดแสตมป์ : 710
ชื่อชุดแสตมป์ : ตราไปรษณียากรที่ระลึก 80 พรรษา สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส
วันแรกจำหน่าย : 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2546
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมมายุ ครบ 80 พรรษา
ชนิดราคา : 3.00 บาท
ขนาด : 27 x 45 มม. (แนวตั้ง)
จำนวนภาพ : 1

ภาพแสตมป์ : พระสาทิสลักษณ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ ทรงประทับยืน ฉลองพระองค์เครื่องขัตติยราช อิสริยาภรณ์ อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่ง มหาจักรีบรมราชวงศ์ พร้อมอักษรพระนาม สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเป็นพระธิดาพระองค์แรกในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ประสูตเมื่อ วันอาทิตย์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ และ เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ.2538 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระบรม ราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ประกาศในการสถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้าต่างกรมฝ่ายในมีพระนามตามจารึกในพระ สุพรรณบัฎว่า สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหวงนราธิวาส ราชนครินทร์
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระราชทานความช่วยเหลือแก่สมาคมที่อยู่ในพระอุปถัมภ์มากมาย อาทิเช่น โครงการโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา เพื่อยกระดับ มาตรฐานการเรียนการสอนฟิสิกส์ในประเทศไทย เป็นต้น

ผู้ออกแบบแสตมป์ : นายธเนศ พลไชยวงศ์ (การสื่อสารแห่งประเทศไทย)
บริษัทผู้พิมพ์ : จันวาณิชย์ ซีเคียวริตี้ พริ้นท์ติ้ง จำกัด ประเทศไทย
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่-หลายสี
จำนวนดวงในแผ่น : 20 ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ซองละ 10.00 บาท
ผู้ออกแบบแสตมป์ : นายธเนศ พลไชยวงศ์ (การสื่อสารแห่งประเทศไทย)

แสตมป์ตราไปรษณียากรที่ระลึก 4 รอบ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

แสตมป์ตราไปรษณียากรที่ระลึก 4 รอบ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

เลขที่ชุด : 709
ชื่อชุด : ตราไปรษณียากรที่ระลึก 4 รอบ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
วันแรกจำหน่าย : 2 เมษายน พ.ศ. 2546
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี เนื่องในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 48 พรรษา ในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ.2546
ชนิดราคา : 3.00 บาท
ขนาด : 27 x 45 มม. (แนวตั้ง)
จำนวนภาพ : 1

ภาพ : พระสาทิสลักษณ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ ตราอักษรพระนามาภิไธยย่อ ส.ธ. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี พระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ.2498 ณ พระ ที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ทรงมีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ้า ลูกเธอเจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดากิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ทรงเป็นพระราช ธิดาพระองค์ที่ 2 ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยเหตุที่สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงประกอบพระราชกรณียกิจอัน สำคัญและเป็นประโยชน์แก่สังคมและประเทศชาตินานัปการ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศสถาปนา เฉลิมพระนามตามที่จารึกในพระสุพรรณบัฎว่า สมเด็จพระเทพรัตนราช สุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมา คุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี ในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2520

ผู้ออกแบบ : นายทวีพร ทองคำใบ
บริษัทผู้พิมพ์ : ไทยบริติช ซีเคียวริตี้ พริ้นท์ติ้ง จำกัด (มหาชน) ประเทศไทย
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่ – หลายสี
จำนวนดวงในแผ่น : 20 ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ซองละ 10.00 บาท
ผู้ออกแบบ : นายธเนศ พลไชยวงศ์ (การสื่อสารแห่งประเทศไทย)

แสตมป์ตราไปรษณียากรที่ระลึกวันอนุรักษ์มรดกไทย 2546

แสตมป์ตราไปรษณียากรที่ระลึกวันอนุรักษ์มรดกไทย 2546

เลขที่ชุด : 708
ชื่อชุด : ตราไปรษณียากรที่ระลึกวันอนุรักษ์มรดกไทย 2546
วันแรกจำหน่าย : 2 เมษายน พ.ศ. 2546
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกเนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย ประจำปีพุทธศักราช 2546 และเพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญและเห็น คุณค่าของศิลปะอันล้ำค่าของชาติ
ชนิดราคา : 3.00 บาท 3.00 บาท 3.00 บาท 15.00 บาท
ขนาด : 51 x 36 มม. (วัดจากรอยปรุถึงรอยปรุ – แนวนอน)
จำนวนภาพ : 2

ภาพ : ศิลปะมวยไทย
3.00 บาท (แบบที่ 1) : ภาพกลมวยแก้หมัด – เอราวัณเสยงา
3.00 บาท (แบบที่ 2) : ภาพกลมวยจู่โจม – หักคอไอยรา
3.00 บาท (แบบที่ 3) : ภาพกลมวยแก้เท้า – หักงวงไอยรา
15.00 บาท : ภาพกลมวยจู่โจม – จระเข้ฟาดหาง

ผู้ออกแบบ : นายวราวุธ ชูแสงทอง
บริษัทผู้พิมพ์ : ไทยบริติช ซีเคียวริตี้ พริ้นท์ติ้ง จำกัด (มหาชน) ประเทศไทย
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่ – หลายสี
จำนวนดวงในแผ่น : 20 ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ซองละ 35.00 บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : แผ่นละ 29.00 บาท
ผู้ออกแบบ : นางวีณา จันทนทัศน์ (การสื่อสารแห่งประเทศไทย)
บัตรภาพตราไปรษณียากร : แบบธรรมดา ชุดละ 8.00 บาท
แบบสมบูรณ์ ชุดละ 41.00 บาท
บัตรตราไปรษณียากรที่ระลึก : ชุดละ 40.00 บาท

แสตมป์ตราไปรษณียากรที่ระลึกงานกาชาด 2546

แสตมป์ตราไปรษณียากรที่ระลึกงานกาชาด 2546

เลขที่ชุด : 707
ชื่อชุด : ตราไปรษณียากรที่ระลึกงานกาชาด 2546
วันแรกจำหน่าย : 28 มีนาคม พ.ศ. 2546
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นที่ระลึกงานกาชาดปีพุทธศักราช 2546
ชนิดราคา : 3.00 บาท
ขนาด : 27 x 45 มม. ( แนวตั้ง )
จำนวนภาพ : 1

ภาพแสตมป์ : การเดินสวนสนามของยุวกาชาด พื้นภาพแสดงกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์ ของยุวกาชาด ได้แก่ การช่วยเหลือผู้สูงอายุ การปฐมพยาบาล เป็นต้น กิจการ ยุวกาชาดไทยได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ.2465 โดยพระดำริของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต อุปนายกผู้อำนวยการสภากาชาดสยามในสมัยนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุ ประสงค์สากลของสันนิบาตสภากาชาด ซึ่งทุกประเทศยึดถือเป็นหลักในการ ดำเนินการคือเพื่อปลูกฝังให้เยาวชนมีใจเมตตากรุณาต่อเพื่อมนุษย์ ทำตนเป็น พลเมืองดี รู้จักทำประโยชน์ต่อส่วนรวม ดังนั้นในวันที่ 27 มกราคมของทุกปี จึงกำหนดให้มีการจัดงานวันสถาปนายุวกาชาด

ผู้ออกแบบแสตมป์ : นางวีณา จันทนทัศน์ ( การสื่อสารแห่งประเทศไทย )
บริษัทผู้พิมพ์ : ไทยบริติช ซีเคียวริตี้ พริ้นท์ติ้ง จำกัด (มหาชน) ประเทศไทย
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโกราฟี่ - หลายสี
จำนวนดวงในแผ่น : 20 ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ซองละ 10.00 บาท
ผู้ออกแบบ : นางวีณา จันทนทัศน์ ( การสื่อสารแห่งประเทศไทย )

แสตมป์ตราไปรษณียากรที่ระลึกงานแสดงตราไปรษณียากรโลก กรุงเทพฯ 2546 (ชุด 2)

แสตมป์ตราไปรษณียากรที่ระลึกงานแสดงตราไปรษณียากรโลก กรุงเทพฯ 2546 (ชุด 2)

เลขที่ชุด : 706
ชื่อชุด : ตราไปรษณียากรที่ระลึกงานแสดงตราไปรษณียากรโลก กรุงเทพฯ 2546 (ชุด 2)
วันแรกจำหน่าย : 3 มีนาคม พ.ศ. 2546
ความมุ่งหมาย : เพื่อประชาสัมพันธ์งานแสดงตราไปรษณียากรโลก กรุงเทพฯ 2546 ซึ่งจะจัด ให้มีขึ้นระหว่างวันที่ 4 – 13 ตุลาคม พ.ศ.2546 ณ ศูนย์แสดงสินค้านานาชาติ อิมแพ็ค เมืองทองธานี เนื่องในโอกาสครบรอบ 120 ปี ของตราไปรษณียากร และการไปรษณีย์ไทย
ชนิดราคา : 3.00 บาท 3.00 บาท 3.00 บาท และ 15.00 บาท
ขนาด : 45 x 27 มม. (แนวนอน)
จำนวนภาพ : 1
ภาพ : สถานที่ท่องเที่ยวของไทย 4 ภาค
3.00 บาท (แบบที่ 1) : ภาคเหนือ ได้แก่ ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่
3.00 บาท (แบบที่ 2) : ภาคกลาง ได้แก่ สะพานข้ามแม่น้ำแคว จังหวัดกาญจนบุรี
3.00 บาท (แบบที่ 3) : ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ ภูกระดึง จังหวัดเลย
15.00 บาท : ภาคใต้ ได้แก่ อ่าวมาหยา จังหวัดกระบี่
ผู้ออกแบบ : นายทวีพร ทองคำใบ
บริษัทผู้พิมพ์ : ไทยบริติช ซีเคียวริตี้ พริ้นท์ติ้ง จำกัด (มหาชน) ประเทศไทย
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่ – หลายสี
จำนวนดวงในแผ่น : 20 ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ซองละ 35.00 บาท
แผ่นตราไปรษณียากรที่ระลึก : แผ่นละ 29.00 บาท
ผู้ออกแบบ : นางวีณา จันทนทัศน์ (การสื่อสารแห่งประเทศไทย)
บัตรภาพตราไปรษณียากร : แบบธรรมดา ชุดละ 8.00 บาท
แบบสมบูรณ์ ชุดละ 41.00 บาท
บัตรตราไปรษณียากรที่ระลึก : ชุดละ 40.00 บาท

แสตมป์ตราไปรษณียากรชุดจิตรกรรมของศิลปินเอก

แสตมป์ตราไปรษณียากรชุดจิตรกรรมของศิลปินเอก

เลขที่ชุด : 705
ชื่อชุด : ตราไปรษณียากรชุดจิตรกรรมของศิลปินเอก
วันแรกจำหน่าย : 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546
ความมุ่งหมาย : เพื่อเชิดชูผลงานทางด้านจิตรกรรมของศิลปินเอกของไทยให้แพร่หลาย
ชนิดราคา : 3.00 บาท (3 แบบ)
15.00 บาท
ขนาด : 36 x 51 มม. (วัดจากรอยปรุถึงรอยปรุ – แนวตั้ง)
51 x 36 มม. (วัดจากรอยปรุถึงรอยปรุ – แนวนอน)
จำนวนภาพ : 1
ภาพ : เป็นภาพวาดของศิลปินเอกของไทย
3.00 บาท (แบบที่ 1) : ภาพน้ำเงิน – เขียว โดย นายเฟื้อ หริพิทักษ์
3.00 บาท (แบบที่ 2) : ภาพเหมือนจิรา จงกล โดย นายจำรัส เกียรติก้อง
3.00 บาท (แบบที่ 3) : ภาพจันทร์แรม โดย นายประสงค์ ปัทมานุช
15.00 บาท : ภาพดอกบัว โดย นายทวี นันทขว้าง
บริษัทผู้พิมพ์ : ไทยบริติช ซีเคียวริตี้ พริ้นท์ติ้ง จำกัด (มหาชน) ประเทศไทย
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่ – หลายสี
จำนวนดวงในแผ่น : 20 ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ชุดละ 53.00 บาท (รวม 4 แบบ/ชุด)
ผู้ออกแบบ : นายอุดร นิยมธรรม (การสื่อสารแห่งประเทศไทย)

แสตมป์ตราไปรษณียากรชุดนักษัตรประจำปี

แสตมป์ตราไปรษณียากรชุดนักษัตรประจำปี

เลขที่ชุด : 702
ชื่อชุด : ตราไปรษณียากรชุดนักษัตรประจำปี
วันแรกจำหน่าย : 1 มกราคม พ.ศ. 2546
ความมุ่งหมาย : เพื่อส่งเสริมการสะสมตราไปรษณียากร และเผยแพร่ปีนักษัตรของไทยให้แพร่หลาย
ชนิดราคา : 3.00 บาท
ขนาด : 31 x 31 มม. (วัดจากรอยปรุถึงรอยปรุ)
จำนวนภาพ : 1
ภาพ : เป็นภาพแพะลวดลายแบบไทย มีดวงดาวเป็นพื้นภาพ เพื่อสื่อความหมายคำว่านักษัตร หมายถึง กลุ่มดาว หรือ ดวงดาวนักษัตรมะแม หรือ ปีมะแม กำหนดให้แพะเป็นสัตว์สัญลักษณ์ ตามปฏิทินหลวงกำหนดให้ปีนักษัตรเปลี่ยนไปพร้อมปีปฏิทิน คือวันที่ 1 มกราคมของทุกปี
ผู้ออกแบบ : นายอรรถศาสตร์ ตุลารักษ์
บริษัทผู้พิมพ์ : ไทยบริติช ซีเคียวริตี้ พริ้นท์ติ้ง จำกัด (มหาชน) ประเทศไทย
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่ – หลายสี
จำนวนดวงในแผ่น : 20 ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ซองละ 10.00 บาท
ผู้ออกแบบ : นายอุดร นิยมธรรม (การสื่อสารแห่งประเทศไทย)

แสตมป์ตราไปรษณียากรพระบรมฉายาลักษณ์รัชกาลปัจจุบัน (ร.9) ชุดที่ 9

แสตมป์ตราไปรษณียากรพระบรมฉายาลักษณ์รัชกาลปัจจุบัน (ร.9) ชุดที่ 9

เลขที่ชุด : 562
ชื่อชุด : ตราไปรษณียากรพระบรมฉายาลักษณ์รัชกาลปัจจุบัน (ร.9) ชุดที่ 9
วันแรกจำหน่าย : 14 มีนาคม พ.ศ. 2546
ความมุ่งหมาย : เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มหาราช เนื่องในมหามงคลวโรกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี และเพื่อทดแทนตราไปรษณียากรพระบรมฉายาลักษณ์รัชกาลปัจจุบัน (ร.9) ชุดที่ 8 ซึ่งได้จัดสร้างออกจำหน่ายมาตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2531
ชนิดราคา : 1.00 บาท
ขนาด : 21 x 26 มม. (แนวตั้ง)
จำนวนภาพ : 1
ภาพ : ภาพพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มหาราช ผินพระพักตร์ข้างในฉลองพระองค์เครื่องแบบทหารเรือภายใน กรอบดยรอบเป็นภาพลายคลื่นและลายเมฆแบบศิลปะไทย
ผู้ออกแบบ : นายสุวิทย์ หลีดุลย์ และ นายปรีชา เถาทอง
บริษัทผู้พิมพ์ : ไทยบริติช ซีเคียวริตี้ พริ้นท์ติ้ง จำกัด (มหาชน) ประเทศไทย
วิธีการพิมพ์และสี : ลิโธกราฟี่ – สีน้ำเงิน
จำนวนดวงในแผ่น : 100 ดวง
ซองวันแรกจำหน่าย : ซองละ 8.00 บาท
ผู้ออกแบบ : นายอุดร นิยมธรรม (การสื่อสารแห่งประเทศไทย)

 

Copyright © 2009 แสตมป์ไทย | Fresh Themes Gallery | NdyTeeN. All Rights Reserved. Powered by Blogger and Distributed by Blogtemplate4u .